กติกามวยไทย
ในการแข่งขันทั่ว ๆ ไป สังเวียนต้องเป็นไปตามข้อกำหนดต่อไปนี้
อุปกรณ์ประจำสังเวียนจะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้
นวมที่ใช้ในการแข่งขันแต่ละครั้ง ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
ให้ใช้ผ้าพันมืออย่างอ่อนยาวข้างละไม่เกิน 6 เมตร กว้างไม่เกิน 5 ซม. ผ้าพันมือชนิดอื่นใช้ไม่ได้ แถบกาวยางหรือพลาสเตอร์ทุกชนิด เป็นผ้าพันมือไม่ได้เด็ดขาด อาจใช้ พลาสเตอร์ยางไม่เกิน 2.5 เมตร กว่าง 2.5 ซม. ข้างละ 1 เส้น ปิดทับข้อมือหรือหลังมือห้ามพันทับสันหมัด
ก. การแต่งกายของผู้เข้าแข่งขัน
ข. การละเมิดเกี่ยวกับเครื่องแต่งกาย ผู้ชี้ขาดจะให้นักมวยที่แต่งกายไม่สะอาดถูกต้องออกจากการแข่งขัน ในกรณีที่นวมหรือเครื่องแต่งกายของนักมวยไม่เรียบร้อยขณะแข่งขัน ผู้ชี้ขาดจะหยุดการแข่งขันเพื่อจัดให้เรียบร้อย
ก. การจำแนกรุ่น และน้ำหนักที่ใช้ในการแข่งขัน
ข. การชั่งน้ำหนัก
นักมวยต้องมีคุณสมบัติดังนี้
นวมที่ใช้ในการแข่งขันแต่ละครั้ง ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
ก. คุณสมบัติของผู้ชี้ขาด และผู้ตัดสิน
ข. สถานะภาพของผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน
ค. จำนวนผู้ชี้ขาด/ผู้ตัดสิน
ในการแข่งขันต้องมีกรรมการ 4 คน คือ กรรมการผู้ชี้ขาดบนเวที 1 คน และกรรมการผู้ตัดสิน 3 คน ทั้งนี้ต้องมีประธานผู้ตัดสินเป็นผู้ควบคุมการแข่งขันอีกด้วย
ก. ความรับผิดชอบอันดับแรก คือ การระมัดระวังดูแล เอาใจใส่นักมวย เป็นหน้าที่สำคัญของผู้ชี้ขาด
ข. หน้าที่ผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดที่จะปฏิบัติหน้าที่ในสังเวียน จะต้องแต่งกายด้วยกางเกงขายาวสีน้ำเงิน เสื้อเชิ้ตสี่น้ำเงินมีเครื่องหมายของสภามวยไทยโลก และรองเท้าหุ้มข้อชนิดเบาที่ไม่มีสันรองเท้า ต้องไม่สวมแว่นหรือเครื่องประดับที่เป็นโลหะ เล็บมือตัดเรียบสั้น และผู้ชี้ขาดต้อง
ค. อำนาจผู้ชี้ขาด ผู้ชี้ขาดมีอำนาจ
ง. การตำหนิโทษผู้ละเมิดกติกา
ผู้ชี้ขาดต้องสั่งให้นักมวยหยุดชกเสียก่อน การตำแหนิโทษต้องกระทำอย่างชัดแจ้ง เพื่อให้นักมวยเข้าใจเหตุและความมุ่งหมายของการ ตำหนิโทษนั้น ผู้ที่ขาดต้องให้สัญญาณมือและชี้ตัวนักมวยให้ผู้ตัดสินทุกคนทราบว่าได้มีการตำหนิโทษ หลังจากตำหนิโทษแล้ว ผู้ชี้ขาดต้องสั่งให้นักมวยชก ถ้านักมวยถูกตำหนิโทษ 3 ครั้ง อาจถูกปรับให้แพ้หรือให้ออกจากการแข่งขันหากเป็นการกระทำผิดกติกาที่ร้ายแรง ให้อยู่ในดุลย์พินิจของผู้ชี้ขาด
จ. การเตือน
ผู้ชี้ขาดอาจเตือนนักมวยได้ การเตือนเป็นการแนะนำหรือให้นักมวยระมัดระวัง หรือป้องกันไม่ให้นักมวยกระทำในสิ่งไม่พึงประสงค์ที่เป็นการละเมิดกติกา ในการเตือนที่ไม่ผิด กติกาในระหว่างการแข่งขันนั้นได้
ก. หน้าที่ผู้ตัดสิน
ข. การแต่งกาย ผู้ตัดสินต้องแต่งกายตามที่ สภามวยไทยโลก กำหนด
คำตัดสินของผู้ชี้ขาด และ/หรือผู้ตัดสิน อาจถูกประธานผู้ตัดสินแก้ไขในกรณีต่อไปนี้
หน้าที่ของประธานผู้ตัดสิน
ก. ที่นั่งของผู้รักษาเวลา และผู้ประกาศ ต้องนั่งอยู่ข้างสังเวียน
ข. หน้าที่ผู้รักษาเวลา
หน้าที่สำคัญของผู้รักษาเวลาคือ รักษาจำนวนยก เวลาของแต่ละยก เวลาหยุดพักระหว่างยก และเวลานอก เมื่อกรรมการผู้ชี้ขาดให้สัญญาณโดยมิให้ผิดพลาด ด้วยวิธีปฏิบัติดังนี้
ค. หน้าที่ผู้ประกาศ
ให้ดำเนินการตัดสินตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้
การให้คะแนนต้องให้ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
ก. การชก หมายถึง อวัยวะ (อาวุธ) ที่ใช้ในการต่อสู้ คือ หมัด เท้า เข่า ศอก
ข. การฟาล์ว
ค. เกี่ยวกับการให้คะแนน
จะต้องแต่งตั้งกรรมการแพทย์ที่มีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติหน้าที่ โดยการรับรองจากสภามวยไทยโลก
การตีความหมายใด ๆ ตามกติกานี้ หรือมีปัญหาใด ๆ เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากผู้แข่งขันแม้มิได้กล่าวไว้ในกติกานี้ก็ดี ให้ประธานผู้ตัดสิน และ/หรือ ผู้ชี้ขาด เป็นผู้พิจารณา สิ่งที่ต้องปฏิบัติเหมือนกันบนเวที คือ